ไตของคนเรามี 2 ข้าง อยู่บริเวณด้านหลัง ใต้ชายโครง บริเวณบั้นเอว มีรูปร่างคล้ายถั่วเหลือง ยาวประมาณ 12เซนติเมตร
- ประกอบด้วยหลอดเลือดฝอยมากมาย เรียกว่า “หน่วยไต” ( nephron )
- หน่วยไตจะลดจำนวน และเสื่อมสภาพตามอายุไข
ไตทำหน้าที่อะไร
๑. กำจัดของเสีย
๒. ดูดซึม และเก็บสารที่เป็นประโยชน์ต่อร่
๓. รักษาสมดุลน้ำของร่างกาย
๔. รักษาสมดุลเกลือแร่ของร่างกาย
๕. รักษาสมดุลกรดด่างของร่างกาย
๖. ควบคุมความดันโลหิต
๗. สร้างฮอร์โมน
๑. กำจัดของเสีย ได้แก่ ยูเรีย ครีเอดินิน
- เมื่อร่างกายได้รับสารอาหาร จะย่อยสลาย นำส่วนที่เป็นประโยชน์ไปใช้ และปล่อยของเสียออกสู่กระแสเลือ
- ขับยา และสารแปลกปลอมอื่น ๆ
๒. ดูดซึม และเก็บสารที่เป็นประโยชน์ต่อร่
- สารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย จะถูกดูดกลับโดยเซลล์ของหน่วยไต
๓. รักษาสมดุลน้ำของร่างกาย
- ถ้าน้ำมีมากเกินความต้องการของร
- ถ้าอยู่ในภาวะขาดน้ำ ไตจะพยายามสงวนน้ำไว้ให้ร่างกาย
๔. รักษาสมดุลเกลือแร่ของร่างกาย
- ไตที่ปกติจะขับเกลือส่วนเกินได้
- แต่ถ้าเสื่อมสมรรถภาพ ผู้ป่วยจะมีอาการบวมถ้ารับประทา
๕. รักษาสมดุลกรดด่างของร่างกาย
- ร่างกายจะผลิตกรดทุกวัน จากการเผาผลาญอาหารโปรตีน
- ถ้าไตทำหน้าที่ปกติ จะไม่มีกรดคั่ง
- ถ้าไตเสื่อมสมรรถภาพ ร่างกายจะมีปัสสาวะเป็นกรด
๖. ควบคุมความดันโลหิต
- ความดันโลหิตสูง เกิดจากความผิดปกติในการควบคุมส
เกลือแร่ รวมถึงสารบางชนิด
- ผู้ป่วยโรคไต จึงมักมีความดันโลหิตสูง เพราะไตถูกกระตุ้นให้สร้างสารที
- ถ้าความดันโลหิตสูงมาก ทำให้หัวใจทำงานหนัก หรืออาจเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบ
๗. สร้างฮอร์โมน
- ไต ปกติสามารถสร้างฮอร์โมนได้หลายช
- ถ้าเป็นโรคไต การสร้างฮอร์โมนจะบกพร่องไป
ตัวอย่างฮอร์โมนที่สร้างจากไต
- ฮอร์โมนเออริโธรพอยอิติน ( erythropoietin)
ทำหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดง ดังนั้นผู้ป่วยจะมี อาการซีด อ่อนเพลีย ไม่มีแรง หัวใจทำงานหนัก วิงเวียน หน้ามืด เหนื่อย ใจสั่น เป็นลมบ่อย
- วิตามินดี ชนิด calcitriol
ทำหน้าที่ช่วยควบคุมการดูดซึมแค
ไตเสื่อมทำให้เกิดผลเสียต่ออวัย
ใครมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค ไต
๑. อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป ไต จะเริ่มเสื่อม
๒. ความดันโลหิตสูง
๓. โรคหัวใจ เช่น หลอดเลือดหัวใจตีบ
๔. โรคหลอดเลือดสมอง
๕. โรคเบาหวาน
๖. โรคเก๊าท์
๗. โรคไตอักเสบชนิดต่าง ๆ ช่น โรคไตอักเสบตั้งแต่วัยเด็ก ไตอักเสบ เอส-แอล –อี โรคไตเป็นถุงน้ำ นิ่ว เนื้องอก หลอดเลือดฝอยอักเสบ
๘. มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคไต
๙. โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบจากการต
๑๐.ใช้ยาแก้ปวด หรือสัมผัสสารเคมีบางชนิดติดต่อ
รู้ได้อย่างไรว่าเป็นโรคไต....
อาการแสดงเมื่อเป็นโรคไต
๑. หนังตา ใบหน้า เท้า ขา และลำตัวบวม
๒. ปัสสาวะผิดปกติ เช่น ขุ่น เป็นฟอง เป็นเลือด สีชาแก่ / น้ำล้างเนื้อ
๓. การถ่ายปัสสาวะผิดปกติ เช่น บ่อย แสบ ขัด ปริมาณน้อย
๔. ปวดหลัง คลำได้ก้อน บริเวณไต
๕. ความดันโลหิตสูง
๖. ซีด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ไม่มีแรง ไม่กระฉับกระเฉง
๗. ท้องอืด ท้องเฟ้อ คลื่นไส้ อาเจียน
๘. เบื่ออาหาร การรับรสอาหารเปลี่ยนไป
๙. ปวดศีรษะ นอนหลับไม่สนิท
อาการสังเกตเมื่อไตเสื่อม.....
ไตเริ่มเสื่อม มีอาการดังนี้
- อาการบวม
- ซีด
- อ่อนเพลีย
- เหนื่อยง่าย
- ความดันโลหิตสูง
ไตวายเรื้อรัง มีอาการดังนี้
- ซีดมากขึ้น
- เบื่ออาหาร
- คันตามตัว
อาการสังเกตเมื่อไตเสื่อม
๑. อาการบวมที่หน้า และหนังตา
๒. อาการบวมที่ขา
๓. อาการบวมที่เท้า
๔. ปัสสาวะเป็นเลือด
โรคไตวาย
- ไตวายเฉียบพลัน
ไตเสื่อมอย่างรวดเร็ว ภายในเวลาเป็นวัน หรือสับดาห์ มักมีอาการมากกว่าแบบเรื้อรัง อัตราการเสียชีวิตสูง ถ้าพ้นอันตราย ไตมักจะเป็นปกติได้
- โรคไตวายเรื้อรัง
เนื้อไตถูกทำลายอย่างถาวร ทำให้ไตค่อย ๆ ฝ่อเล็กลง แม้อาการจะสงบ แต่ไตจะค่อย ๆ เสื่อม และเข้าสู่ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้า
สาเหตุของโรคไตวายเรื้อรัง
ปัจจุบันพบว่าผู้ป่วยด้วยโรคไต เข้าสู่โรคไตวายเรื้อรังระยะสุด
๑. อันดับหนึ่ง โรคเบาหวาน
๒. อันดับสอง ความดันโลหิตสูง และ โรคหลอดเลือดฝอยไตอักเสบ เช่น โรค เอส- แอล – อี
๓. สาเหตุอื่น ๆ ได้แก่
- โรคนิ่วในไต
- โรคไตอักเสบเรื้อรังจากการติดเช
- โรคเก๊าส์
- โรคไตจากการกินยาแก้ปวดต่อเนื่อ
- โรคถุงน้ำในไตที่ถ่ายทอดทางกรรม
สาเหตุต่าง ๆ เหล่านี้ มักทำให้เกิดโรคกับไตทั้ง 2 ข้างพร้อม ๆ กัน
ขอขอบคุณข้อมูลจาก http://www.vibhavadi.com/web/
ภาพประกอบจาก อินเตอร์เน็ตโดย...... Ayurvedic Association of Thailand
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น